MBTI for Building Teamwork
PRICE LIST
9,500 Baht (Exclusive of VAT 7%)
Special Offer : Contact us
Myers–Briggs Type Indicator (MBTI) for Building High Performance Team (MBTI เพื่อการสร้างทีมทรงประสิทธิภาพ)
เมื่อมองเห็น เข้าใจ และยอมรับความแตกทางบุคลิกภาพ
แล้วใช้เป็น “จุดแข็ง” ในการท างานร่วมกัน
นั่นคือ จุดเริ่มต้นของการสร้างทีมทรงประสิทธิภาพ
MBTI เป็นแบบวัดบุคลิกภาพที่มีการตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1962 โดยถูกคิดค้นและพัฒนาขึ้นโดย Isabel Briggs Myers และ Katharine C. Briggs ซึ่งต่อยอดมาจากทฤษฎีของ Carl Jung (คาร์ล จุง) คาร์ล จุง ได้ใช้อักษร (ตัวแปร) ทั้ง 8 คือ E I P S T F N J มาจัดเป็นชุด ชุดละ 4 ตัวอักษร ทำให้เกิดเป็นลักษณะบุคลิกภาพ ทั้งหมด 16 แบบ
การมองเห็น เข้าใจ และยอมรับความแตกต่างของบุคคล พร้อมปรับเปลี่ยนตนเองให้สามารถทำงานกับ ผู้อื่นได้ คือ ปัจจัยความสำเร็จของการทำงานเป็นทีม ไม่ว่าบุคลิกภาพของแต่ละคนจะเป็นอย่างไร หากทุกคนรู้จัก ใช้เพื่อการแสดงพลังทีม และช่วยดึงศักยภาพของจุดแข็งในแต่ละบุคคลิกภาพออกมาใช้ได้อย่างเต็มที่และถูกวิธี ก็จะช่วยให้เกิด “ทีมทรงประสิทธิภาพ”
- เข้าใจความหมายและความแตกต่างของบุคลิกภาพแต่ละประเภท
- เข้าใจวิธีการประยุกต์ใช้ความแตกต่างของบุคลิกเพื่อการทำงานร่วมกัน
- ยอมรับและปรับเปลี่ยนตนเองเข้าหาผู้อื่น เพื่อทำให้เกิดการทำงานเป็นทีมที่ทรงประสิทธิภาพ
- ทดลองประยุกต์ใช้ความแตกต่างของบุคลิกภาพเพื่อการวางแผนการทำงานร่วมกัน แล้วตัดสินใจในรูปแบบที่ทรงประสิทธิภาพมากที่สุด
ช่วงเช้า
- ทำแบบชี้วัดบุคลิกภาพ MBTI: (ทำการมาเรียน หรือในช่วงเวลาลงทะเบียน)
- Lego Activity: สังเกตพฤติกรรมการทำงานของตนเอง และเปรียบเทียบกับเพื่อนๆด้วย
- MBTI คืออะไร: เข้าใจพัฒนาการความหมาย ความสำคัญ และประโยชน์ของ
- 4 คู่พื้นฐานของ MBTI: เข้าใจความแตกต่างคู่แต่ละคู่ของ MBTI และการทำงานของแต่ละคู่ เพื่อ สังเกตพฤติกรรม และประเมินตนเอง
- Spitting Activity: ทำกิจกรรมเพื่อยืนยัน บุคลิกภาพของตนเอง และไม่ตัดสินแทนคนอื่น
ช่วงบ่าย
- Communication Activity: กิจกรรม “คำพูดติดปาก” สังเกตพฤติกรรมการสื่อสารของตนเอง เมื่อ เปรียบเทียบกับเพื่อนๆด้วย MBTI คู่ที่ 2 และคู่ที่ 3/พูดคุยเพื่อสะท้อนการเรียนรู้และความรู้สึก/คำพูด ที่ใช้ในการทำงานร่วมกันกับความรู้สึกของคนต่างบุคลิกภาพ
- Decision Making Activity: กิจกรรม “ติดเกาะ” สังเกตพฤติกรรมการตัดสินใจของตนเอง ใน สถานการณ์ต่างๆพูดคุยเพื่อสะท้อนการเรียนรู้และความรู้สึก/Z Model4
- 4 ระยะเพื่อสร้างทีมทรงประสิทธิภาพ: กิจกรรม “สะพาน” สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมระหว่าง หัวหน้าทีมและสมาชิก/พูดคุยเพื่อสะท้อนการเรยนรู้และความรู้สึก/4 ระยะของการทำงานเป็นทีมและ บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าทีมกับสมาชิก
วิธีการฝึกอบรม
ผู้เข้าอบรมเรียนรู้ผ่านหลากหลายกระบวนการ เช่น กิจกรรมการบรรยาย วิดีโอ การแสดงบทบาทสมมติ การระดม ความคิด และการทบทวนการเรียนรู้ด้วยกิจกรรมรูปแบบต่างๆโดยผู้เรียนต้องเรียนรู้และนำไปใช้ในสถานการณ์จริง ภายใต้สภาวะแวดล้อมในการทำงานจริงประกอบไปด้วยบรรยายร้อยละ 40 ฝึกการนำเสนอร้อยละ 60